มหาวิทยาลัยเกริกได้จัดการประชุมวิชาการนานาชาติ ICSM ครั้งที่ 2

มหาวิทยาลัยเกริกได้จัดการประชุมวิชาการนานาชาติ ICSM ครั้งที่ 2
大咖云集!重磅来袭!泰国格乐大学第二届可持续管理国际学术研讨会ICSM盛大开幕

2021年4月27日,泰国格乐大学第二届可持续管理国际学术研讨会ICSM在云端腾讯会议盛大召开!
เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2564 มหาวิทยาลัยเกริกได้จัดการประชุมวิชาการนานาชาติ ICSM ครั้งที่ 2 ครั้งยิ่งใหญ่ ผ่านแอพพลิเคชั่น Tencent Conference
本届国际学术研讨会议程为期三天(4月27日-4月29日)。今天为第一天,荣幸邀请到泰国格乐大学校长杨金泉阁下等大学和国际学院领导老师们参加。
การประชุมวิชาการนานาชาติ ICSM ครั้งที่ 2 ระยะเวลา 3 วัน (ระหว่างวันที่ 27 – 29 เมษายน พ.ศ.2564) การจัดการประชุมในครั้งนี้ มหาวิทยาลัยเกริกรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับเกียรติจากศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์กระแส ชนะวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกริกและคณะผู้บริหาร อาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกริก อีกทั้งอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยคณะนานาชาติ เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้
泰国格乐大学校长杨金泉阁下在致辞中首先祝贺第二届可持续管理国际学术研讨会顺利召开,他谈到可持续发展管理作为人类社会发展不可或缺的一个组成部分,现如今各行各业都得遵循可持续性和可再生性的一个发展方式,在此当中就会产生各行各业优秀的管理人才。另一方面,这些优秀的人才必须具备的是卓越领导力,领导力管理怎么样与企业的可持续性发展相结合,需要各位参加的嘉宾、教师、学生们去深刻的探讨这个议题。
ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์กระแส ชนะวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกริก ได้กล่าวถึงการจัดการการพัฒนาที่ยั่งยืนว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ ซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนจะก่อให้เกิดการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในองค์กร ในปัจจุบันทุกสาขา ทุกอาชีพ มีแนวทางในการพัฒนาและติดตามอย่างต่อเนื่อง ในทางกลับกันคนเก่งต้องมีภาวะผู้นำ และมีวิธีการจัดการเกี่ยวกับภาวะผู้นำร่วมกันกับการพัฒนาที่ยั่งยืนในองค์กร ในโอกาสนี้จึงขอเรียนเชิญท่านแขกผู้มีเกียรติ คณะครู และนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอภิปรายในครั้งนี้

格乐大学管理委员会负责人王长明老师从教育国际化角度来简述教育的可持续管理,他在致辞中提到中国教育和泰国教育现如今已经成为中国-东盟主体化教育的发展重点。
中国教育有着后发优势,谈到最好的基础教育,他说世界应该看向中国。中国教育培养高层次人才,服务“一带一路”政策,现如今作为最大的留学生生源国,每年对外输送留学生近百万名 ,同时也大力引进来自200多个国家和地区近40万名来华留学生。谈到泰国教育时,他称赞泰国教育接近西方教育,教育经费的投入每年约占泰国国家经费的20%,结合泰国4.0战略的推行和发展,泰国教育在现阶段也能与中国教育互相结合。所谓教育互通国际化,泰国格乐大学始终以教育为本,探索中-泰-东盟和西方优秀文化积淀中产生的教育模式,大力推崇华文授课项目,作为泰国最大的华文教育基地。弘扬中华文化,孕育国际人才。
อาจารย์หวัง ฉางหมิง ประธานกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยเกริก ได้กล่าวถึง การจัดการศึกษาอย่างยั่งยืนจากมุมมองของการศึกษานานาชาติการศึกษาจีนการศึกษาไทยในปัจจุบัน รวมถึงการศึกษาจีน-อาเซียน ซึ่งเป็นจุดสำคัญในการพัฒนาทางด้านการศึกษา
การศึกษาในประเทศจีน มีข้อได้เปรียบตรงที่มีพื้นฐานการศึกษาที่ดีอยู่แล้ว ในมุมมองของคนทั่วโลกจะเห็นได้ว่า การศึกษาในประเทศจีนเป็นแหล่งผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพ ตามยุทธศาสตร์ของ “One Belt One Road” ซึ่งในปัจจุบันประเทศจีนได้มีนักศึกษาต่างชาติเป็นจำนวนมาก ในแต่ละปีมีนักศึกษาประมาณ 1,000,000 คน ซึ่งมาจาก 200 ประเทศ และพื้นที่ใกล้เคียงกว่า 4 แสนคน ที่เข้ามาศึกษาในประเทศจีน
สำหรับการศึกษาในประเทศไทย ได้รับการยกย่องว่าการศึกษาไทยนั้น ใกล้เคียงกับการศึกษาตะวันตก ซึ่งค่าใช้จ่ายในการศึกษาของประเทศไทยในแต่ละปี คิดเป็น20เปอร์เซ็นต์ รวมถึงการส่งเสริมและการพัฒนาการศึกษาไทยภายใต้กรอบประเทศไทย 4.0
การศึกษาไทยในปัจจุบันได้มีการผสมผสานกับการศึกษาจีน ที่เรียกว่าการแลกเปลี่ยนการศึกษาระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยเกริกได้มุ่งเน้นด้านการศึกษาเป็นหลัก โดยสำรวจค้นคว้ารูปแบบการศึกษา ไทย-จีน-อาเซียน เพื่อออกแบบรูปแบบการศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยเกริกถือว่าเป็นแหล่งการศึกษาไทยจีนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และยังส่งเสริมวัฒนธรรมจีนและสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ระดับสากล
他还鼓励各位参会的学子学者,停下来,眼前就是你的世界;走出去,世界就在你眼前。最后,王长明老师对参加本界国际学术研讨会的嘉宾学子学者们表示衷心的祝福。
นอกจากนี้ อาจารย์หวัง ฉางหมิง ได้ให้ข้อคิดกับนักศึกษาที่เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ว่า
“ถ้าเราหยุดเดินและมองออกไปข้างนอกให้แตกต่าง โลกกว้างจะอยู่ใกล้แค่เอื้อม”
สุดท้ายนี้อาจารย์หวัง ได้กล่าวแสดงความปรารถนาด้วยความจริงใจแก่นักศึกษาที่เข้าร่วมสัมมนาวิชาการนานาชาติในครั้งนี้

第三位致辞的嘉宾是泰国宪法法院前大法官查棱·帕蒂塔纳功教授,他从可持续管理战略的重要性和前瞻性方面阐述了可持续管理的深刻含义,他称赞到中国作为世界上发展速度最快的国家,中国现行制度和政策值得泰国和东盟以及世界各国学习,“一带一路”政策的提出惠及亚太地区,最核心的就是要不断升级不断深化可持续发展的战略思想。他也表示很荣幸能受邀作为嘉宾参加本届国际学术研讨会,并祝愿格乐大学今后越办越好。
ศาสตราจารย์พิเศษจรัญ ภักดีธนากุล อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรมและผู้พิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ ได้อธิบายเกี่ยวกับความหมายของการจัดการที่ยั่งยืน ความสำคัญและการคาดการณ์ในอนาคต อีกทั้งยังยกย่องประเทศจีนว่า เป็นประเทศที่มีพัฒนาเติบโตเร็วที่สุดในโลก ปัจจุบันประเทศจีนได้มีนโยบายที่มีมุ่งเน้นด้านการศึกษาไทย-อาเซียน และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก ตามยุทธศาสตร์ของ “One Belt One Road” เป็นประโยชน์ต่อภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ความสำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ เพื่อเป็นการยกระดับและพัฒนาแนวความคิดเชิงกลยุทธ์ของการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง ในวันนี้รู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับเชิญเข้าร่วมการสัมมนาทางวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2 สุดท้ายนี้ขอให้มหาวิทยาลัยเกริก เจริญรุ่งเรืองและมีชื่อเสียงเลื่องลือต่อไป

国际学院英语部副院长约翰·华尔什博士从政治、国家关系、多边合作等方面谈及现今社会的格局。他提到无论是政治动态,经济建设,人文交融都离不开发展最根本的内在动力,那就是如何实现资源的再利用。美国和中国等大国应该携手共进,从根本利益上出发。利用各自的优势去引领世界走向一个新常态化的发展。
Dr. จอห์นวอลช์ รองประธานฝ่ายภาษาอังกฤษของโรงเรียนนานาชาติ กล่าวถึงรูปแบบของสังคมปัจจุบัน ด้านการเมือง ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และความร่วมมือพหุภาคี โดยกล่าวว่าไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง เศรษฐกิจ และทรัพยากร ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ จึงต้องอาศัยแรงจูงใจในการทำงานร่วมกัน ยกตัวอย่างประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกาและจีน ควรหันหน้าเข้าหากันและทำงานร่วมกัน โดยใช้ประโยชน์จากข้อดีของแต่ละประเทศเป็นจุดแข็ง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

第一天上午和下午研讨会有来自芬兰、新加坡、中国、日本、英国的六位演讲嘉宾进行专题汇报。
ช่วงเช้าและบ่ายในวันแรก เป็นการอภิปรายจากผู้เข้าร่วมการนำเสนอพิเศษทั้ง 6 ท่าน ได้แก่ ประเทศฟินแลนด์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น และประเทศอังกฤษ

来自芬兰的沙佳尔(Sajal Kabiraj)教授,为我们谈”未来的生活,从芬兰说起(Future of Work: Stories from Finland)”,这是大家最关心的话题。沙佳尔教授是多个国际学术卓越的获奖人,曾在中国执教,也曾被中国教育部选入优秀的外籍教师之一。本次研讨会以他的演讲开始,相信可以为研讨会带来热烈的回响。
ศาสตราจารย์ชาร์ล จากประเทศฟินแลนด์ ได้กล่าวในหัวข้อ “ชีวิตในอนาคต เริ่มต้นจากฟินแลนด์” เป็นหัวข้อที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก
ศาสตราจารย์ชาร์ล ได้รับรางวัลความเป็นเลิศทางวิชาการระหว่างประเทศ และได้ไปสอนที่ประเทศจีน อีกทั้งยังได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในครูต่างชาติที่ดีที่สุดจากกระทรวงศึกษาธิการ

Sajal Kabiraj

来自新加坡的马力克(Tariq H. Malik)教授,以” 艺术与人文科学的进步与国家的社会经济福利(Progress in Arts and Humanities and Socio-Economic Welfare of Nations)”的主题,与我们谈可持续的创新发展的道路。马力克教授是英国伦敦大学管理学博士,也是多个期刊的匿名审查学者。也曾多次被国际贸易学会AIB与国际管理学会AOM聘请为匿名审查与论文编辑。
ศาสตราจารย์มาร์คลิค จากประเทศสิงคโปร์ กล่าวในหัวข้อ “ความก้าวหน้าในศิลปะและสังคมเศรษฐกิจของประเทศ” ได้อธิบายเกี่ยวกับเส้นทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
ศาสตราจารย์มาร์คลิค สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ปริญญาเอก สาขาการจัดการ และเป็นนักวิชาการตรวจสอบวารสารหลายฉบับ นอกจากนี้ยังเคยได้ทำงานร่วมกับ AIB กับสมาคมการจัดการระหว่างประเทศ ทำหน้าที่ตรวจสอบเอกสารและแก้ไขวิทยานิพนธ์ และ บริษัท AOM เป็นที่ปรึกษาในการตรวจสอบเอกสารงานวิจัย

Tariq H. Malik

来自英国伦敦的卡西尔拉帝(Luca Cacciolatti)教授,为我们谈社会创新(Social Innovation)的新观念。卡西尔拉帝教授毕业于英国剑桥大学与牛津大学,他也是中国政府常年的管理咨询顾问,为中国政府讲授社会转型期的管理理论。卡西尔拉帝教授在他本次的演讲中也要告诉我们,一群有理想,有抱负的人,可以慢慢地改变社会,让明天会更好。
ศาสตราจารย์ลูก้า จากลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้กล่าวเกี่ยวกับแนวคิดใหม่ของนวัตกรรมทางสังคม
ศาสตราจารย์ลูก้า จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ และมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ และเป็นที่ปรึกษารัฐบาลจีนสอนทฤษฎีการจัดการ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ศาสตราจารย์ลูก้า ได้กล่าวว่า “กลุ่มคนที่มีอุดมคติและทะเยอทะยาน สามารถค่อยๆ เปลี่ยนสังคม เพื่อวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่า”

Luca Cacciolatti

来自中国科学院的研究员姚剑(Jian Yao)博士,以”稳定同位素技术在明胶生产溯源中的应用(Application of Stable Isotope Technique in Tracing the Origin of Gelatin Production)”与我们分享她的研究团队的最新研究成果。姚博士是中国科学院上海应用物理研究所熔融盐化学与技术工程系化学安全小组的负责人。她发表了10篇SCI索引论文,授权了一项发明和一项实用新型专利。她是中国高科技年轻顶尖学者的代表。她的演讲,也将会为格乐大学工程学系未来的发展给予新的研究方向动力。
ดร.เหยาเจี่ยน จากสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศจีน ได้กล่าวถึง การวิจัยล่าสุด
ในหัวข้อ “การประยุกต์ใช้เทคนิคไอโซโทปเสถียรภาพในการผลิตเจลาติน”
ดร.เหยาเจี่ยน เป็นหัวหน้าทีมรักษาความปลอดภัยของเคมีละลายเกลือเคมี และ
วิศวกรรมเทคโนโลยีที่เซี่ยงไฮ้ สถาบันฟิสิกส์ประยุกต์จีน Academy of Sciences ได้เขียนงานวิจัย SCI 10 ฉบับ โดยได้รับการจดสิทธิบัตร และตัวแทนของนักวิชาการด้านเทคโนโลยีชั้นสูงรุ่นใหม่ของประเทศจีน ดร.เหยาเจี่ยน ได้กล่าวว่า “จะสร้างแรงผลักดันทิศทางการวิจัยใหม่ สำหรับการพัฒนาภาควิชาวิศวกรรมของมหาวิทยาลัยเกริกในอนาคต

Jian Yao

来自日本北九州大学的加藤尊秋(Takaaki Kato)教授,以”可持续发展: 与过去的灾民分享经验:日本的地震和海啸(Sharing experience by residents of past disaster sites: Earthquake and tsunami in Japan)”与我们分享社会在经历过一场巨灾之后,如何走向康复之路。加藤教授曾经留学英国,並且长年关注于东南亚各国的可持续管理问题之研究,他的演讲也将可以为东盟各国的可持续管理学术带来新的启发。
ศาสตราจารย์ ทาคากิ โตโล จากมหาวิทยาลัยคิตะกีวชู ประเทศญี่ปุ่น ได้กล่าวถึง “การพัฒนาอย่างยั่งยืนและการแบ่งปันประสบการณ์ของผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ภัยพิบัติในอดีต แผ่นดินไหวและสึนามิในญี่ปุ่น” โดยได้กล่าวถึงการฟื้นฟูความเสียหายหลังเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติได้อย่างไร
ศาสตราจารย์ ทาคากิ โตโล เคยศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ได้ให้ให้ความสำคัญกับการวิจัยประเด็นเกี่ยวกับการจัดการอย่างยั่งยืนในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้กล่าวสุนทรพจน์เป็นแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ให้กับนักวิชาการด้านการจัดการอย่างยั่งยืน

Takaaki Kato

同样是来自英国伦敦的的李秀熙(Soo Hee Lee)教授,与我们讨论他在组织管理学的最新研究心得。李教授过去任教于英国伦敦肯特大学,他是”技术预测与社会变革与全球转型(Technological Forecasting and Social Change and Global Transitions)”期刊的主编,本次的演讲也对相关领域研究者一个很好的学习机会。
ศาสตราจารย์ซูฮีลี จากลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้กล่าวถึงงานวิจัยล่าสุดเกี่ยวกับ การจัดการองค์กร
ศาสตราจารย์ลี สอนที่มหาวิทยาลัยเคนท์ ลอนดอน และเป็นบรรณาธิการของวารสาร “พยากรณ์เทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กับการเปลี่ยนแปลงทั่วโลก” ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีสำหรับนักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง

Soo Hee Lee

本届可持续管理国际学术研讨会顺利召开,得益于格乐大学校长杨金泉阁下,大学管理委员会负责人王长明老师,格乐大学副校长素帕副教授,大学管理委员兼国际学院院务委员会主席李黎光博士,国际学院院长谢森博士,国际学院学术科研副院长王琨博士,国际学院助理院长/艺术系副主任林毓芝博士,国际学院林财利博士等领导老师以及国际学院教务团队的大力支持与辛苦付出。
การประชุมวิชาการนานาชาติ ICSM ครั้งที่ 2 เป็นไปอย่างราบรื่นและประสบความสำเร็จ โดยได้รับความกรุณาจาก
ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์กระแส ชนะวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกริก
อาจารย์หวัง ฉางหมิง ประธานกรรมการบริหาร
Assoc. Prof. สุพัฒน์ ธีรเวชเจริญชัย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
หลี่หลีกวาง ประธานคณะกรรมการวิทยาลัยนานาชาติ
Dr. หลินยู่จือ ผู้ช่วยคณบดีวิทยาลัยนานาชาติและรองประธานฝ่ายศิลปะ
ได้รับการสนับสนุนการทำงาน โดยทีมวิชาการของมหาวิทยาลัยนานาชาติ
และทีมนักวิชาการทุกท่าน

学术风华看格乐,矢志不渝永向前。
มองการเรียนรู้ให้เป็นเรื่องสนุก มุ่งมั่นที่จะเดินหน้าต่อไป
泰国格乐大学第二届可持续管理国际学术研讨会ICSM真诚邀,请您加入
การประชุมวิชาการนานาชาติ ICSM ครั้งที่ 2 ของมหาวิทยาลัยเกริก
ขอแสดงความนับถือ เรียนเชิญทุกท่านเข้าร่วม

格乐留学,泰国格乐大学官微平台。每天分享留学动态、热点事件、素质教育心得、品质生活理念。探讨家庭教育,学生心理。
เรียนต่อต่างประเทศเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเกริก ประเทศไทย เป็นรหัสคิวอาร์โค๊ดทางการของมหาวิทยาลัยเกริก ความกระตือรือร้น คุณภาพการศึกษา ปรัชญาคุณภาพชีวิต การศึกษาในครอบครัว จิตวิทยานักเรียน

关于出国留学有疑问可以给我们留言
หากมีข้อสงสัยหรือคำถาม เกี่ยวกับการศึกษาในต่างประเทศติดต่อเรา

想了解泰国留学申请记得电话联系
ต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสมัครเรียนประเทศไทย

电话:4009-939-969
โทร:4009-939-969
或者扫描下方二维码添加:
หรือรหัสคิวอาร์ทางการของมหาวิทยาลัย

致力于培养有知识、有质量、德智体美劳全面发展、有责任感的全方位人才

มุ่งมั่นที่จะพัฒนาความรู้และคุณภาพ

การพัฒนาบุคลากรที่มีความรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ

Share:

หนังสือยินยอมให้เก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล

สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ หรือสนใจข้อมูลของมหาวิทยาลัย


ด้วยพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 เป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลส่วนบุคคลโดยกำหนดให้การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องขอความยินยอมพร้อมทั้งแจ้งวัตถุประสงค์ให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบโดยชัดแจ้งเว้นแต่เป็นการดำเนินการที่กฎหมายอนุญาตให้ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อประมวลผลโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล

โดยหนังสือฉบับนี้ มหาวิทยาลัยเกริก หรือ “มหาวิทยาลัย” ถือเป็นผู้ควบคุมข้อมูลที่มีหน้าที่ตามกฎหมายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่ในการครอบครองหรือควบคุมของมหาวิทยาลัย มีความประสงค์ขอความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นทั้งข้อมูลทั่วไปและข้อมูลอ่อนไหวสำหรับสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ หรือสนใจข้อมูลของมหาวิทยาลัยเพื่อติดต่อสื่อสารให้ข้อมูลหรือคำแนะนำ หรือทำการตลาด หรือจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ และให้คำแนะนำด้านการเรียน ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในหนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ

สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ หรือสนใจข้อมูลของมหาวิทยาลัยหรือ “ข้าพเจ้า” ขอให้ความยินยอมกับมหาวิทยาลัยในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ดังนี้

(1) ข้าพเจ้ายินยอมให้มหาวิทยาลัยเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของข้าพเจ้าที่เป็นทั้งข้อมูลทั่วไปและข้อมูลอ่อนไหว เพื่อให้มหาวิทยาลัยนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ

(2) ข้าพเจ้ายินยอมให้มหาวิทยาลัยเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของข้าพเจ้าจากแหล่งที่มาตามที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ

(3) ข้าพเจ้ายินยอมให้มหาวิทยาลัยเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลของข้าพเจ้า เท่าที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ เว้นแต่กรณีจำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลต่อไปตามที่กฎหมายกำหนด

(4) ข้าพเจ้ายินยอมให้มหาวิทยาลัยและผู้ปฏิบัติงานอื่นของมหาวิทยาลัยนำข้อมูลส่วนบุคคลของข้าพเจ้าที่ได้เก็บรวบรวม ใช้ เพื่อนำไปดำเนินการจัดการศึกษาหรือกิจการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยตามที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ

(5) ข้าพเจ้ายินยอมให้มหาวิทยาลัยเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของข้าพเจ้าให้แก่หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานภายนอก ตามที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ

(6) ในกรณีที่มหาวิทยาลัยมีความจำเป็นต้องส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ (ถ้ามี) มหาวิทยาลัยจะขอความยินยอมจากข้าพเจ้าอีกครั้งตามที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ

(7) ข้าพเจ้าทราบว่าข้าพเจ้ามีสิทธิตามที่ระบุไว้ใน หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ และมีสิทธิที่จะเพิกถอนความยินยอมทั้งหมดหรือบางส่วนเมื่อใดก็ได้โดยแจ้งให้มหาวิทยาลัยทราบและมหาวิทยาลัยอาจขอทราบเหตุผลแห่งการนั้นได้ แต่การเพิกถอนความยินยอมนี้จะไม่ส่งผลกระทบต่อความยินยอมที่ข้าพเจ้าได้ให้ไปก่อนหน้านี้ ในกรณีที่การเพิกถอนความยินยอมกระทบต่อสิทธิหรือหน้าที่ใดๆ ของข้าพเจ้า หรือทำให้ข้าพเจ้าไม่ได้รับสิทธิประโยชน์หรือการบริการจากมหาวิทยาลัยอีกต่อไป ข้าพเจ้ายอมรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการนั้นได้

ข้าพเจ้าได้อ่านและเข้าใจในหนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Notice) สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาต่อ หรือสนใจข้อมูลของมหาวิทยาลัยโดยตลอดแล้วและข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่ได้ให้ไว้กับมหาวิทยาลัยถูกต้องตามความเป็นจริงทุกประการ หากข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องตามความเป็นจริงท่านตกลงยินยอมให้มหาวิทยาลัยดำเนินการตามกฎหมายหรือชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้น แล้วแต่กรณี

Privacy Preferences

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save